22-05-2022
16:47
16:31
15:58
15:08
14:59
14:54
14:47
14:13
14:08
14:01
13:43
13:21
13:16
12:47
12:35
12:28
12:26
12:21
11:49
10:53
10:36
10:36
10:17
10:16
10:08
09:50
09:48
09:25
09:23
09:17
09:05
09:02
09:00
21-05-2022
20-05-2022
19-05-2022
18-05-2022
17-05-2022
14-05-2022
21:56
21:56
21:54
21:53
21:52
21:51
21:50
21:47
21:00
19:50
07:30
11-05-2022
09-05-2022
08-05-2022
07-05-2022
14:36
06-05-2022
13:22
12:56
05-05-2022
20:01
04-05-2022
14:05
11:18
08:30
03-05-2022
02-05-2022
01-05-2022
30-04-2022
10:51
29-04-2022
27-04-2022
13:16
25-04-2022
24-04-2022
23-04-2022
16:50
16:07
22-04-2022
21-04-2022
20-04-2022
19-04-2022
18-04-2022
17-04-2022
16-04-2022
15-04-2022
21:29
20:59
20:44
11:21
14-04-2022
20:11
20:11
13-04-2022
14:49
14:15
13:21
13:14
12-04-2022
18:30
17:30
12:05
08:54
11-04-2022
20:28
20:23
17:00
16:12
14:11
11:31
11:05
10:58
10-04-2022
19:06
18:58
11:00
10:50
09-04-2022
22:22
22:16
22:10
22:00
21:20
21:11
16:30
12:31
08-04-2022
16:37
10:42
10:42
10:42
ผศ.ดร.นพดล กรรณิกา ผู้อำนวยการสำนักวิจัยซูเปอร์โพล (SUPER POLL) เสนอผลสำรวจ เรื่อง ผู้ว่าฯ ในความฝันของคน กทม. กรณีศึกษาประชาชนทุกสาขาอาชีพทั่วประเทศโดยดำเนินโครงการทั้งการวิจัยเชิงปริมาณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ จำนวน 1,081 ตัวอย่าง ระหว่างวันที่ 6 - 8 เม.ย.ที่ผ่านมา พบว่า ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 82.0 ระบุ เห็นด้วยว่า ผู้ชนะในโพล อาจพ่ายแพ้ในวันเลือกตั้ง ในขณะที่ ร้อยละ 18.0 ไม่เห็นด้วย ที่น่าสนใจคือ เมื่อสอบถาม ผู้ว่าฯ ในความฝันของคน กทม. พบว่า เกินครึ่งหรือร้อยละ 55.6 อยากได้ผู้ว่า กทม. เป็นนักบริหารแก้ปัญหาเก่ง วัยหนุ่มมีประสบการณ์ กล้าสู้ กล้าชน รองลงมาคือ ร้อยละ 25.4 อยากได้ผู้ว่า กทม. เป็น นักบริหาร สูงวัย เคยมีตำแหน่งทางการเมือง เช่น รัฐมนตรี ร้อยละ 21.7 อยากได้ ผู้ว่า กทม. เป็น นักเคลื่อนไหวทางสังคม ต่อต้านรัฐบาลคอร์รัปชัน ร้อยละ 16.3 อยากได้ ผู้ว่า กทม. เป็น อดีตมีตำแหน่งบริหาร กทม. ร้อยละ 16.3 อยากได้ ผู้ว่า กทม. เป็น อดีตนักวิชาการ ผู้บริหารมหาวิทยาลัย ร้อยละ 14.9 อยากได้ผู้ว่า กทม. เป็น อดีต ส.ส. และ ร้อยละ 16.4 ระบุอื่น ๆ
ที่น่าพิจารณา คือ ความฝันของคน กทม. ต่อ ความเป็นเมือง ที่อยากได้ พบว่า ร้อยละ 52.3 ระบุ เมืองแห่งความปลอดภัย ร้อยละ 49.3 ระบุเมืองแห่งสวัสดิการ เช่น การรักษาพยาบาล การศึกษา บ้านพักคนชรา ร้อยละ 45.3 ระบุ เมืองแห่งสุขภาวะ และการแพทย์ ร้อยละ 42.5 ระบุ เมืองแห่งประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และการท่องเที่ยว ร้อยละ 41.4 ระบุ เมืองแห่งการศึกษา นานาชาติ ร้อยละ 35.8 ระบุ เมืองแห่งการลงทุน นานาชาติ ร้อยละ 35.6 ระบุ เมืองแห่งความ เท่าเทียมทางเพศ สมรสเท่าเทียม ร้อยละ 28.5 ระบุ เป็น มหานครแห่งความบันเทิง สถานบันเทิงเปิดได้ 24 ชั่วโมง และร้อยละ 13.6 เปิดบ่อนเสรี ใน กทม. ตามลำดับ
อย่างไรก็ตาม เกือบครึ่ง หรือร้อยละ 48.7 ยังไม่ตัดสินใจว่าจะเลือกใครเป็นผู้ว่า กทม. ในขณะที่ ร้อยละ 20.3 ระบุ นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ รองลงมาคือ ร้อยละ 9.8 ระบุ นาย สุชัชชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ ร้อยละ 7.1 ระบุ พล.ต.อ.อัศวิน ขวัญเมือง ร้อยละ 5.7 ระบุ นาย สกลธี ภัททิยกุล ร้อยละ 2.5 ระบุ นาย วิโรจน์ ลักขณาอดิศร และร้อยละ 5.9 ระบุอื่น ๆ นางสาวรสนา โตสิตระกูล น.ต.ศิธา ทิวารี เป็นต้น
TNNONLINE
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2516 เป็นต้นมา ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเป็นข้าราชการการเมืองที่มาจากแต่งตั้งโดยคณะรัฐมนตรี การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมีขึ้นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2518 สืบเนื่องจากมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2518 เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2518 ซึ่งกำหนดให้กรุงเทพมหานครเป็นทบวงการเมือง มีผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ที่มาจากการเลือกตั้ง และอยู่ในตำแหน่งตามวาระ 4 ปี
TNNONLINE
1. ให้ผู้สมัครเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ปิดประกาศและติดแผ่นป้ายเกี่ยวกับการเลือกตั้ง ณ สถานที่ที่หน่วยงานกำหนด จำนวน ดังนี้
ประกาศเกี่ยวกับการหาเสียงเลือกตั้ง จัดทำได้ไม่เกิน 10 เท่าของจำนวนหน่วยเลือกตั้งในเขตเลือกตั้ง
แผ่นป้ายหาเสียงเลือกตั้งไม่เกิน 5 เท่าของจำนวนหน่วยเลือกตั้งในเขตเลือกตั้ง
2. กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการปิดประกาศเกี่ยวกับการหาเสียงเลือกตั้ง และติดแผ่นป้ายเกี่ยวกับการหาเสียงเลือกตั้ง ใน การเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร ดังนี้
จัดทำและปิดประกาศเกี่ยวกับการหาเสียงเลือกตั้ง มีขนาดความกว้างไม่เกิน 30 เซนติเมตร และมีขนาดความยาวไม่เกิน 42 เซนติเมตร
จัดทำและติดแผ่นป้ายเกี่ยวกับการหาเสียงเลือกตั้ง มีขนาดความกว้างไม่เกิน 130 เซนติเมตร และมีขนาดความยาวไม่เกิน 245 เซนติเมตร
3.สถานที่ปิดประกาศเกี่ยวกับการหาเสียง ให้ปิดประกาศในสถานที่ดังต่อไปนี้
บริเวณป้ายปิดประกาศของสำนักงานเขตปกครอง
บริเวณป้ายปิดประกาศของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร
บริเวณป้ายปิดประกาศของหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร
วิธีการปิดประกาศเกี่ยวกับการหาเสียงเลือกตั้ง ให้ผู้สมัครปิดประกาศตามที่หัวหน้าหน่วยงานกำหนด โดยปิดประกาศได้สถานที่ละ 1 แผ่น เท่านั้น
ให้ผู้สมัครที่ประสงค์จะปิดประกาศเกี่ยวกับการหาเสียงเลือกตั้ง แจ้งขอปิดประกาศต่อหัวหน้าหน่วยงานหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายของสถานที่นั้น ๆ
4. สถานที่ติดแผ่นป้ายเกี่ยวกับการหาเสียงเลือกตั้งต้องคำนึงถึงความเหมาะสม เป็นระเบียบ สะอาด ปลอดภัย แข็งแรง มีทัศนียภาพและทัศนวิสัยที่ดี ไม่เกิดอันตรายแก่ประชาชนหรือต่อยานพาหนะ
รวมทั้งไม่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สินของทางราชการหรือประชาชน และจะต้องไม่เป็นการกีดขวางทางสัญจร การจราจร และต้องไม่ติดทับซ้อนกับแผ่นป้ายเกี่ยวกับการเลือกตั้งของผู้สมัครรายอื่น
TNNONLINE
จำนวนประชากรผู้อาศัยในกรุงเทพมหานคร ทั้งหมด 5,519,907 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 31 มี.ค.65)
แบ่งเป็นเพศชาย 2,588,027 คน เพศหญิง 2,931,880 คน มีจำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 4,374,131 คน (ข้อมูลคำนวณถึงวันที่ 22 พ.ค.65)
แบ่งเป็นเพศชาย จำนวน 1,996,104 คน เพศหญิง จำนวน 2,378,027 คน
จำนวนหน่วยเลือกตั้ง 6,817 หน่วย บุคลากรที่ใช้ในการสนับสนุนการเลือกตั้ง 167,298 คน
TNNONLINE